สวัสดีและขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาอ่านนะครับ บทความของผมจะเป็นบทความทางกฎหมาย ซึ่งอาจจะเป็นทางวิชาการไปสักหน่อย แต่เพราะอยากให้ความรู้ทางกฎหมายโดยเฉพาะทางด้านกฎหมายอาญา กฎหมายวิธิพิจารณาความอาญา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านทุกท่านนะครับ
สวัสดีและขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาอ่านนะครับ บทความของผมจะเป็นบทความทางกฎหมาย ซึ่งอาจจะเป็นทางวิชาการไปสักหน่อย แต่เพราะอยากให้ความรู้ทางกฎหมายโดยเฉพาะทางด้านกฎหมายอาญา กฎหมายวิธิพิจารณาความอาญา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านทุกท่านนะครับ
ขอความรู้เพิ่มเติมฮะ
ReplyDeleteในกรณีคำพิพากษาเก่ามากๆ เช่น ฎีกา 978/2479 อันเนื้อหาและถ้อยคำในฎีกาเป็นลักษณะ sexual discrimination อย่างจัง และเป็นการรับรองให้ผู้ชายมีสิทธิเหนือผู้หญิงอย่างชัดเจน ซึ่งในความเห็นผมอาจจะขัด รธน.หมวด 3 (โดยเฉพาะในส่วนที่ 2) เสียด้วยซ้ำ
การอ้างคำพิพากษาลักษณะดังกล่าวในทางกฎหมาย อ.คิดว่าน้ำหนักในการอ้างมีมากน้อยเพียงใดครับ ยิ่งไปกว่านั้น อ.คิดว่าการกล่าวอ้างดังกล่าวสามารถกล่าวอ้างได้หรือไม่ฮะ.
#แมวพิมพ์
คำพิพากษาฎีกา 987/2549 ในส่วนตัวเห็นว่า แม้จะเป็นการกระทำของสามีหรือภรรยาก็ไม่ควรจะถือเป็นการป้องโดยชอบด้วยกฎหมายได้ เพราะสามารถเลื่อกวิถีทางอื่นได้ การเลือกที่จะฆ่าไม่ใช่วิถีทางที่น้อยที่สุด อีกทั้งการชั่งน้ำหนักสัดส่วนระหว่างการป้องกันเกียรติยศชื่อเสียงกับชีวิตคน คงไม่อาจจะเท่ากันได้ครับ
ReplyDeleteในปัจจุบันคงอ้างไม่ได้แล้วครับ