Thursday 25 January 2018

ถามตอบกฎหมายอาญา ภาคทั่วไป

ถามตอบกฎหมายอาญา ภาคทั่วไป


  หนังสือ 108 คำถามกฎหมายอาญา เล่มที่ 1 (ภาคทั่วไป) จัดทำขึ้นมาโดยผู้เขียนประสงค์จะให้นิสิต นักศึกษา รวมถึงผู้ที่สนใจกฎหมายอาญาภาคทั่วไปได้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับกฎหมายอาญาภาคทั่วไป ซึ่งคำถามทั้งหมดครอบคลุมเนื้อหากฎหมายอาญาภาคทั่วไป ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านได้เข้าใจกฎหมายอาญาภาคทั่วไปมากขึ้น โดยใช้ระยะเวลาในการทบทวนไม่นาน ผู้เขียนตั้งใจเขียนให้อ่านเข้าใจง่ายและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนกฎหมายอาญ

สารบัญ


1. กฎหมายอาญาแตกต่างจากกฎหมายอื่นอย่างไร
1
2. กฎหมายอาญาจะย้อนหลังได้หรือไม่
2
3. กฎหมายอาญาจะต้องตีความอย่างเคร่งครัด หมายความว่าอย่างไร
3
4. ความผิดอันยอมความได้กับความผิดอันยอมความไม่ได้ แตกต่างกันอย่างไร
5
5. ความผิดในตัวเองกับความผิดเพราะกฎหมายบัญญัติเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
7
6. โครงสร้างความรับผิดทางอาญาคืออะไรและมีความสำคัญอย่างไร
9
7. โครงสร้างความรับผิดทางอาญาของไทยมีกี่โครงสร้าง
10
8. การกระทำในทางอาญา คืออะไร
11
9. การกระทำโดยการไม่เคลื่อนไหวร่างกายมีได้หรือไม่
12
10. การงดเว้นกับการละเว้นเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
11
11. องค์ประกอบภายนอกกับองค์ประกอบภายในแตกต่างกันอย่างไร
15
12. เจตนากับประมาทเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
17
13. เหตุยกเว้นความผิดคืออะไรและมีเหตุใดบ้าง
20
14. เหตุใดการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายจึงไม่มีความผิด
22
15. ความยินยอมที่ไม่มีความผิดหมายถึงอย่างไร
23
16. เหตุยกเว้นโทษ คืออะไรและมีเหตุใดบ้าง
26
17. เหตุลดโทษคืออะไรและมีอะไรบ้าง
27
18. เหตุใดเหตุลดโทษจึงไม่อยู่ในโครงสร้างความรับผิดทางอาญา
28
19. เหตุลดโทษกับเหตุบรรเทาโทษเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
29
20. องค์ประกอบภายนอกของความผิดอาญาแต่ละฐานมีอะไรบ้าง
30
21. ผู้กระทำทางอาญามีกี่ประเภท และแต่ละประเภทเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
31
22. ผู้กระทำความผิดโดยตรงกับผู้กระทำความผิดโดยอ้อมเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
33
23. ผู้กระทำความผิดโดยอ้อมกับผู้ใช้ให้กระทำความผิดเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
34
24. Innocent Agent หมายถึงบุคคลใด
35
25. ผู้มีส่วนร่วมในการกระทำความผิดมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
36
26. ตัวการหมายถึงใคร
37
27. ตัวการกับผู้สนับสนุนเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
40
28. ผู้ใช้ให้ผู้อื่นกระทำความผิดคือใคร เหตุใดต้องรับผิดตามกฎหมาย
41
29.  คนที่คิดจะกระทำความผิดอาญาต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่ เพราะเหตุผลใด
43
30. การตระเตรียมการเพื่อกระทำความผิดต้องถูกลงโทษหรือไม่ เพราะเหตุใด
44
31. การลงมือกระทำความผิดแต่ความผิดไม่สำเร็จต้องรับโทษทางอาญาหรือไม่ เพราะเหตุใด
45
32. การสมคบคิดกันเพื่อจะกระทำความผิดอาญาฐานใดฐานหนึ่ง ต้องระวังโทษอะไรหรือไม่เพราะเหตุใด
47
33. วัตถุแห่งการกระทำหมายความว่าอย่างไร
48
34. การขาดองค์ประกอบภายนอกหมายความว่าอย่างไรและมีผลในการพิจารณาความรับผิด ของบุคคลอย่างไร
49
35. เจตนาคืออะไร
50
36. เจตนามีกี่ประเภทประเภท
51
37. เจตนาตามความเป็นจริงกับเจตนาโดยผลของกฎหมายเหมือนหรือต่างกันอย่างไร   
52
38. เจตนาประเภทประสงค์ต่อผลกับเจตนาประเภทเล็งเห็นผลเหมือนหรือต่างกันอย่างไร   
53
39. การไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบความผิด จะถือว่าผู้นั้นประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลไม่ได้หมายความว่าอย่างไร
55
40. หากการไม่รู้ข้อเท็จจริงอันเป็นองค์ประกอบความผิดนั้นเกิดขึ้นโดยความประมาทของผู้กระทำผู้กระทำจะต้องรับผิดในทางอาญาหรือไม่
57
41. รู้เท่าใด มีเจตนาเท่านั้น หมายความว่าอย่างไร
58
42. เจตนาพิเศษคืออะไรและต้องมีในความผิดอาญาทุกฐานหรือไม่   
59
43. เจตนาโดยผลของกฎหมายคืออะไร
60
44. เจตนาโดยผลของกฎหมายมีหลักเกณฑ์ประการใดบ้าง
61
45. การกระทำโดยประมาทหมายความว่าอย่างไร
62
46. การจะพิจารณาว่าผู้กระทำประมาทหรือไม่มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอย่างไร
63
47. การกระทำความผิดโดยประมาทมีพยายามได้หรือไม่
65
48. ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุนในความผิดที่กระทำโดยประมาทมีได้หรือไม่ด้วยเหตุผลใด
66
49. เหตุใดในกฎหมายอาญาจึงต้องพิจารณาว่าผู้กระทำจะต้องรับผิดในผลของการกระทำหรือไม่
67
50. ทฤษฎีเงื่อนไขกับทฤษฎีมูลเหตุที่เหมาะสมเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
68
52. การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายมีหลักเกณฑ์ใดบ้าง
71
53. หากภยันตรายนั้นยังไม่ใกล้จะถึงจะอ้างป้องกันเพื่อให้ผลจากความรับผิดได้หรือไม่
72
54. การป้องกันพอสมควรแก่เหตุหมายความว่าอย่างไร
74
55. การป้องกันโดยสำคัญผิดว่ามีเหตุที่ป้องกันได้หมายความว่าอย่างไร
76
56. หากการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายนั้นพลาดไปทำให้ผู้อื่นเสียหายผู้กระทำจะอ้างเพื่อยกเว้นความรับผิดได้หรือไม่
77
57. หากภยันตรายได้ผ่านพ้นไปแล้วผู้กระทำจะอ้างป้องกันเพื่อให้พ้นจากความรับผิดได้หรือไม่
78
58. ความยินยอมที่จะอ้างเพื่อให้พ้นจากความรับผิดทางอาญาหมายความว่าอย่างไร
80
59. เหตุใดกฎหมายไม่ลงโทษบุคคลที่กระทำความผิดด้วยความจำเป็น
82
60. การกระทำความผิดด้วยความจำเป็นมีกี่ประเภท
83
61. การกระทำความผิดด้วยความจำเป็นกับการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
85
62. การกระทำความผิดด้วยความจำเป็นหากพลาดไปถูกบุคคลอื่น จะอ้างจำเป็นได้หรือไม่
87
63. การทำตามคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงานผู้กระทำนั้นจะมีความรับผิดทางอาญาหรือไม่ อย่างไร
88
64. การป้องกันไว้ล่วงหน้าก่อนที่เกิดภยันตรายสามารถกระทำได้หรือไม่
89
65. ศาลไทยใช้หลักการวินิจฉัยใดในการพิจารณาว่าผู้กระทำได้กระทำถึงขั้นลงมือแล้ว
90
66. เหตุฉกรรจ์กับผลฉกรรจ์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
93
67. หากใช้แล้วแต่การใช้ยังไปไม่ถึงผู้ถูกใช้ ผู้ที่ใช้ให้ผู้อื่นกระทำความผิดจะต้องรับผิดฐานพยายามหรือไม่
94
68. ผู้ที่ให้การช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการกระทำความผิด แต่ผู้กระทำความผิดไม่ได้ประโยชน์จากการช่วยเหลือนั้น จะเป็นผู้สนับสนุนได้หรือไม่
95
69. เหตุใดกฎหมายจึงไม่ลงโทษการกระทำของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี และอายุไม่เกิน 15 ปี
83
70. เหตุใดกฎหมายจึงไม่ลงโทษคนวิกลจริต
84
71. บุคคลจะอ้างความมึนเมาเพื่อให้พ้นจากความรับผิดทางอาญาได้หรือไม่
85
72. การลักทรัพย์ระหว่างสามีภริยามีความผิดและต้องรับโทษตามกฎหมายหรือไม่
87
73. บุคคลจะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายเพื่อให้ตนเองพ้นจากความรับผิดทางอาญาได้หรือไม่
88
74. การกระทำความผิดเพราะบันดาลโทสะหมายความว่าอย่างไร
89
75. หลักเกณฑ์ของการกระทำโดยบันดาลโทสะมีอะไรบ้าง
90
76. เหตุบรรเทาโทษคืออะไรและมีกี่เหตุ
91
77. เหตุใดกฎหมายจึงลงโทษการพยายามกระทำความผิดสองในสามส่วนของความผิดสำเร็จ
93
78. ขั้นตอน “การลงมือกระทำความผิด” หมายความว่าอย่างไร
95
79. หลักในการวินิจฉัยว่าผู้กระทำได้กระทำถึงขั้นลงมือแล้วคืออะไร
96
80. หลักเกณฑ์ของการพยายามกระทำความผิดมีอะไรบ้าง
99
81. การพยายามกระทำความผิดที่เป็นไปไม่ได้อย่างแน่แท้คืออะไร และแตกต่างจากการพยายามกระทำความผิดธรรมดาอย่างไร
100
82. หากผู้กระทำความผิดได้ยับยั้งเสียเองไม่กระทำให้ตลอดหรือกลับใจแก้ไขไม่ให้การกระทำนั้นบรรลุผลหรือจะมีผลในทางกฎหมายอย่างไร
101
83. หลักความใกล้ชิดต่อผลหมายความว่าอย่างไร
103
84. ตัวการ หมายถึงใครและมีหลักเกณฑ์ในการเป็นตัวการอะไรบ้าง
105
85. บุคคลที่ร่วมคิดและวางแผนในการกระทำความผิดแต่ในวันที่ลงมือกระทำความผิดนั้นไม่ได้ร่วมด้วยจะเป็นตัวการหรือไม่
106
86. ตัวการในลำดับที่หนึ่งและตัวการในระดับที่สองแตกต่างกันอย่างไร
107
87. เหตุใดกฎหมายลงโทษผู้ที่ก่อให้ผู้อื่นเกิดเจตนากระทำความผิด
110
88. หากผู้ถูกใช้ยังไม่ได้กระทำตามที่ใช้ ผู้ใช้จะต้องรับผิดทางอาญาหรือไม่เพราะเหตุใด
112
89. หลักเกณฑ์ของการเป็นผู้ใช้ตาม มาตรา 84 มีอะไรบ้าง
113
90. ผู้สนับสนุนหมายถึงบุคคลใดและมีหลักเกณฑ์ในการวินิจฉัยว่าบุคคลใดเป็นผู้สนับสนุนหรือไม่อย่างไร
115
91. ผู้สนับสนุนหลังการกระทำความผิดสำเร็จแล้วมีได้หรือไม่ด้วยเหตุผลใด
117
92. ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุนมีขอบเขตความรับผิดอย่างไร
119
93. การสำคัญผิดในตัวบุคคลหมายความว่าอย่างไร และผู้กระทำจะอ้างความสำคัญผิดในตัวบุคคลเพื่อให้ตนเองผลจากความรับผิดทางอาญาได้หรือไม่
122
94. การสำคัญผิดในข้อเท็จจริงคืออะไรและมีผลในทางกฎหมายอย่างไร
123
95. ข้อเท็จจริงที่ทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้นหมายความว่าอย่างไรและผู้กระทำต้องรู้ข้อเท็จจริงนั้นหรือไม่
124
96. ผลธรรมดาคืออะไร และมีความสำคัญในการวินิจฉัยความรับผิดของบุคคลหรือไม่
125
97. ทฤษฎีเงื่อนไข หมายความว่าอย่างไร และนำใช้วินิจฉัยความรับผิดอย่างไร
127
98. การกระทำโดยบันดาลโทสะ หมายความว่าอย่างไร และมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอย่างไร
128
99. การกระทำความผิดกรรมเดียวและหลายกรรมหมายความว่าอย่างไร
130
100. หากกระทำกรรมเดียวแต่เป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบทต้องลงโทษผู้กระทำความผิดอย่างไร
131
101. หากกระทำหลายกรรมแต่เป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบทต้องลงโทษผู้กระทำความผิดอย่างไร
132
102. ความผิดต่อส่วนตัวนั้นมีอายุความในการดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดเท่าใด
134
103. การลงโทษทางอาญามีวัตถุประสงค์ในการลงโทษผู้กระทำความผิดด้วยเหตุผลใด
136
104. ในปัจจุบันแนวโน้มของการลงโทษผู้กระทำความผิดเป็นการลงโทษผู้กระทำความผิดโดยมีวัตถุประสงค์ใด
139
105. ทรัพย์สินใดที่ศาลสามารริบได้
140
106. วิธีการเพื่อความปลอดภัยคืออะไรและมีกี่วิธีที่นำมาใช้
141
107. เงื่อนไขที่ศาลสามารถรอลงอาญาได้มีเงื่อนไขอะไรบ้าง
142
108. วิธีการเพื่อความปลอดภัยมีอะไรบ้าง
144



ซื้อได้ตามลิ้งด้านล่างครับ








108 คำถามกฎหมายอาญา
เฉลิมวุฒิ สาระกิจ
www.mebmarket.com
หนังสือ 108 คำถามกฎหมายอาญา เล่มที่ 1 (ภาคทั่วไป) จัดทำขึ้นมาโดยผู้เขียนประสงค์จะให้นิสิต นักศึกษำ รวมถึงผู้ที่สนใจกฎหมายอาญาภาคทั่วไปได้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับ กฎหมายอำญาภาคทั่วไป ซึ่งคำถามทั้งหมดครอบคลุมเนื้อหา กฎหมายอำญาภาคทั่วไป เป็นการเรียนกฎหมายอาญาโดยอาศัยการถามตอบ เมื่ออ่านครบแล้วจะทำให้เข้าใจกฎหมายอาญา โดยที่ไม่รู้สึกเหมือนอ่านตำรา